วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์ และ ระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในการคำนวณประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ ตัวอักษร และเสียง

ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์

   หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
1.หน่วยรับข้อมูลเข้า
เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมตัว ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-แป้นอักขระ (Keaboard)
-แผ่นซีดี (CD-Rom)
-ไมโครโฟน (Microphone) เป็นต้น
2.หน่วยประมวณผลกลาง (Central Processing Unit)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3.หน่วยความจำ(Memory Unit)
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมไปส่งยังหน่วยแสดงผล
4.หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอรืทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
5.อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripheral Equipment)
เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากขึ้น เช่น โมเด็ม(modem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นต้น

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

1.มีความเร็วในการทำงานยสูงว สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้งานในการคำนวณได้อย่างรวดเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน

ระบบคอมพิวเตอร์

หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆของข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎ์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาล เป็นต้น
      การเข้าถึงข้อมูลเหล้านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบไปด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังนี้
1.ฮาร์ดแวร์(Hardwear)
2.ซอฟแวร์(Softwear)
3.ข้อมูล(Data)
4.บุคลากร(Peopleware)

ฮาร์ดแวร์(Hardwear)

หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆทีเราสามารถสัมผัสและจับต้องได้
1.ส่วนประมวลผล(Processor)
2.ส่วนความจำ(Memory)
3.อุปกร์รับเข้าและส่งออก(Input-Output Devices)
4.อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล
.....................................................................................

กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย


ซอฟต์แวร์ (software)

คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอรืว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆดปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้ออย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห้นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าง จัดเก้บ แนมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ชไดรืฟ ฮารืดดิสก์ เป้นต้น

หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่ป็นตัวเชท่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก้ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท

ประเภทของซอฟต์แวร์ แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
- ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
- ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ



1 .ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

                 เป็นโปรแกรมที่บริษัทผุ้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขรอักษรแล้วแปลควมหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครทื่องพิมพื จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง
                            System Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Window,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic,Fortran,Pascal,Cobol,C เป้นต้น           นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตราจสอบระบบ เช่น Norton's Utilities ก็นับเป้นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
   1.1 ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดเเป้นต่างๆบนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เมาส์ ลำโพง เป้นต้น
   1.2 ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
   1.3 ใช้แป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ พเอให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการในสาระบบ (directory) ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป้น ระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
    - ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS)
    - ตัวแปลภาษา
     
      ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอซ
                                                                                                                                                                         
       1.ดอส (Disk Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสไม่ค่อยได้รับการนิยมใช้ในปัจจุบัน
       2. วินโดวส์ (Windows) พัฒนาต่อจากดอส สั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้น แทนแผงแป้นอักขระ นอกจากนี้ยังสามารถทำงานได้หลายๆอย่างพร้อมกันได้โดยแต่ละงานจะอยู่หน้าต่างบนจอช่องของจอภาพ การใช้งานเน้นนรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้สามารถใช้เมาส์เลื่อนตำแหน่วที่ปรากฎบนจอภาพ ทำให้ใช้งานได้ง่าย จึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
       3.ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคดนโลยีแบบเปิด(Opensystem) แนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่เรียกว่าระบบหลายผู้ใช้ (Multiusers) แสมารถทำงานได้หลายๆงานในเวลเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภาระกิจ (Multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน 
       4. ลีนุกซ์ (Lenux) พัฒนามาจากยูนิกซื เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว (GNU)  และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลันุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Free Ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
    ระบบลีนุกซ์สามารถสามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) ดิจิตอล (Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค (SUNSPARC) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันหน้ามาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์มากขึ้น
       5. แมคอินทอซ (Macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมดครคอมพิวเตอรื ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบแจดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพืต่างๆ

     นอกจากระบบปฏิบัติการทั้งหมดที่กล่าวมายังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันเป้นระบบเช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา


ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งานสามารถจำแนกได้ 3 ชนิด


1. ประเภทการใช้งานเดียว (Single-tasking)
         จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ดอส

2.ประเภทใช้หลายงาน
         สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟตืแวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น

3. ประเภทใช้งานได้หลายคน (Multi-user) 
          ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อใก้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIX เป็นต้น


ตัวแปลภาษา
           การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
           ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่  ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
          นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งไปน 2ประเภท คือ
1. ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(proprrietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized  Packaged)และโปรแกรมมาตรฐาน(Standard Packaged)
ตัวแปลภาษา           การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
           ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่  ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
          นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งไปน 2ประเภท คือ
1. ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(proprrietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized  Packaged)และโปรแกรมมาตรฐาน(Standard Packaged)

                                ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
    โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
    โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW, Adobe Photoshop
    โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacle Studio DV              
    โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor, Adobe Director
    โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver

กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
    โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN Messenger/ Windows Messenger, ICQ
    โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH, MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
     การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยค
ข้อความภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมาย
บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บาง
ภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูลซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง 
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
    การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็น
ประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์
ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูง
ใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ 
คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์ 
(Interpreter)

คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พิวเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
..............................................................................................................................................................

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอิรเทอร์เน็ต

การทำงานของระบบ network และ internet

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.เครือข่ายเฉพาะที่ ( local area netwoek : lan)

เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นองค์กรดดยส่วนใหญ่ในลักษณะของการเชื่อมต่อของคอมพิวเตอร์เป็นวง

2.เครือข่ายเมือง (metropolitan area network: man)

เป็นกลุ่มเครือข่าย lan ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกันเป็นต้น

3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (wide area network :wan)

เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปเป็นระดับ โดยเป็นเครือข่ายรวมทั้ง lan และman มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงเป็นครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั้วประเทศ ทั่วโลก เช่น อินเทอร์เน็ต

รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย(network topolpgy)

การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของรูปแบบ อันเป็นการจัดการคอมพิวเตอร์และการเดินสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงการไหลเวียนข้อมูลครงสร้างเครือข่ายหลักได้เป็น 4 แบบ
1.เครือข่ายแบบดาว
2.เครือข่ายวงแหวน
3.เครือข่ายแบบบัส
4เครือข่ายแบบต้นไม้

1.แบบดาว

เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานนีต่างๆ มาต่อรวมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานนีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจร
ลักษณะการทำงานแบบดาว
เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่ม่ลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป็นจุด
ผ่านการติดต่อกัน ระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานนีกลางจึงเป็นเป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานนีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส้งข้อมูลให้โหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาว จะมีสองทิศทาง โดยจะอนุตญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงมีโอกาสหลายโหนด

2.แบบวงแหวน

เป็นแบบของสถานนีของเครือข่ายทุกสถานนีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยการเชื่อมโยงของสัญญาณของทุกสถานนีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายเหล่านี
เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆเข้าเป็นวงกลม ขอมูลข่าวสารจะถูกส่งโหนดหนึ่งไปอีกโหนดหนึ่ง วนอย่ในเครือข่าย

3. แบบบัส

เป็นเครือที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ

 การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่าย

1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง

2.ระบบเครือข่าย peer-to-peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ client/server
ระบบclient/server เป็นระบบทีมีความยืดหยุ่น สนบับสนุนการทำงานแบบ สามารถขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง สำหรับใช้บริการ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น